สมเด็จพระสังฆราช ประทานพรปีใหม่ 2564
สมเด็จพระสังฆราช ประทานพรปีใหม่ 2564 “สพฺเพสํ สงฺฆภูตานํ สามคฺคี วุฑฺฒิสาธิกา ความพร้อมเพรียงของหมู่ชน ยังความเจริญให้สำเร็จ”
ส่องธรรม ล้ำภาษิต : ฝึกตนฝึกใจไปนิพพาน
การบรรลุธรรมไม่ได้จำกัดชนชั้น การหมดกิเลสไม่ได้จำกัดวัย การสิ้นอาสวะไม่ได้จำกัดเพศภาวะ ทุกเพศ ทุกวัย ทุกชนชั้น ไม่ว่าใคร ๆ
พระปิลินทวัจฉะ (๑)
สัตว์ทั้งปวงซึ่งเป็นมิตรและมิใช่มิตร ย่อมไม่เบียดเบียนเรา เราเป็นที่รักของสัตว์ทุกจำพวก นี้เป็นผลแห่งบุญกรรม
พระพุทธคุณ ตอน ผู้รู้แจ้งโลก
บุคคลใดมีความเพียร ข่มขี่มาร ครอบงำมัจจุราชได้แล้ว ได้ถูกต้องธรรมอันเป็นที่สิ้นการเกิด บุคคลเช่นนั้นย่อมเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นผู้มีปัญญาดี เป็นมุนี ผู้หมดความทะยานอยากในธรรมทั้งปวง
ธรรมกายคือหลักของชีวิต
เมื่อใดบัณฑิตย่อมเห็นด้วยปัญญาว่า สังขารทั้งปวงไม่เที่ยง เมื่อนั้นเขาย่อมหน่ายในทุกข์ นี้เป็นทางแห่งความหมดจด
ได้โปรดอภัยเถิด
ผู้ใดมีสติมั่นคง เจริญเมตตาอันหาประมาณมิได้ สังโยชน์ของผู้นั้น ผู้เห็นธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งอุปธิกิเลส ย่อมเบาบาง ผู้ใดมีเมตตาจิตในสรรพสัตว์ ไม่ฆ่าสัตว์เอง ไม่ใช้ให้ผู้อื่นฆ่า ไม่ชนะเอง ไม่ใช้ให้ผู้อื่นชนะ ผู้นั้นย่อมไม่มีเวรกับใคร
มหาสมัยสูตรครั้งที่ 4 (ตอนพระพุทธเนรมิต)
เราเป็นผู้ครอบงำธรรม ได้ทั้งหมด รู้ธรรมทุกอย่าง ไม่ติดอยู่ในธรรมทั้งปวง ละธรรมอันเป็นไปในภูมิสามได้ทุกอย่าง พ้นแล้วในธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา รู้เองแล้ว จะพึงอ้างใครเล่า ว่าเป็นอุปัชฌาย์อาจารย์
มงคลที่ ๓๔ ทำพระนิพพานให้แจ้ง - ผู้มีชัยชนะที่ไม่กลับแพ้
เมื่อพวกอำมาตย์กราบทูลให้เสด็จกลับ พระเจ้าพรหมทัตจึงตรัสว่า “ท่านทั้งหลาย เราไม่ใช่พระราชาแล้ว เราชื่อว่า พระปัจเจกพุทธเจ้า” แล้วทรงเอาพระหัตถ์เบื้องขวาลูบพระเศียร ทันใดนั้นเอง เพศคฤหัสถ์ก็อันตรธานไป เพศบรรพชิตเกิดขึ้นมาแทนที่ ทรงเหาะขึ้นไปสู่ท้องฟ้า ประทับนั่งบนดอกปทุม
มงคลที่ ๕ มีบุญวาสนามาก่อน - ชีวิตที่ลิขิตได้ด้วยบุญ
ปกติของคนตระหนี่จะไม่ชอบให้ ทาน เพราะเขากลัวความจน กลัวว่าทรัพย์ที่ให้ไปจะสูญเปล่า แต่ผู้รู้กลับบอกว่า ยิ่งให้จะยิ่งได้ เพราะการทำความดีใดๆ ที่จะไม่ส่งผลนั้น เป็นไม่มี หากเริ่มดำรงตนอยู่ในสถานะของผู้ให้ ใจของเราจะสูงขึ้น เป็นอิสระจากความตระหนี่ และจะขยายออกไปอย่างไม่มีประมาณ เมื่อถึงขีดถึงคราวที่บุญส่งผลจะได้รับเกินควรเกินคาดทีเดียว แม้ตัวเรายังรู้สึกอัศจรรย์ในตัวเอง
พญานาค คาถาป้องกันงู
ตระกูลนาคเป็นสัตว์ดุร้ายเจ้าโทสะ ได้รับกระทบกระทั่งแม้เกน้อยก็โกรธอาจเผาผลาญผู้ที่ตนพบเห็นหรือฉกกัดได้ ผู้ที่กลัวงูทั้งหลายจึงหาวิธีป้องกันงูในลักษณะต่างๆ อันนำมาซึ่งความผูกอาฆาตพยาบาทผูกเวรกันต่อไปข้ามชาติ เช่น ตีงูจนหลังหัก หรือตายก็มี